สอนเขียนวิธี Upload File Laravel ขึ้น Server

PHP Knowledge เป็น บอร์ดรวามความรู้ php เน้นบทความ แนวทางการเขียนโปรแกรม บันทึกกันลืม เพื่อให้สมาชิกได้เขียนความรู้ที่ตัวเองมีให้สมาชิกท่านอื่นๆ ได้ เข้ามาอ่าน และ ไว้อ่านเองกันลืมด้วย

Moderator: mindphp, ผู้ดูแลกระดาน

makup
PHP Super Member
PHP Super Member
โพสต์: 398
ลงทะเบียนเมื่อ: 05/10/2020 10:02 am

สอนเขียนวิธี Upload File Laravel ขึ้น Server

โพสต์ที่ยังไม่ได้อ่าน โดย makup »

ในบทความนี้ จะมาแนะนำวิธีการ Upload File Laravel Framework ขึ้น Web Server , ซึ่งบทความนี้เหมาะสำหรับผู้ที่เริ่มต้นศึกษาการใช้ Laravel Framework ใหม่ , ซึ่งอาจจะเป็นประโยชน์แก่ในการเอาไปพัฒนาหรือเรียนรู้ต่อยอดในการพัฒนา Website , Web hosting ที่เราใช้ก็คือ 000Webhost.com ซึ่งเป็น Free Hosting , โดยไม่เสียค่าบริการ แต่จะมีข้อจำกัดการใช้งาน , พื้นที่เก็บ File , อายุการใช้งานเป็นต้น , แต่ก็จะมีแบบเสียค่าบริการ แบบ Premium อยู่เหมือนกัน

วิธี Upload File Laravel ขึ้น Server

Step 1 - ให้ทำการเข้่า Web site 000webhost.com , จากนั้นก็ทำการ สมัครสมาชิก, แล้ว Login เข้าหน้าเว็บ
67.JPG
67.JPG (69.23 KiB) Viewed 2990 times

Step 2 - จากนั้นก็ทำการสร้างหน้า Web site , โดยการคลิกปุ่มตรงมุมด้านขวาบน ที่ชื่อว่า Create New Site , จากนั้นก็ทำการตั้งชื่อ Web site ของเรา , แล้วตามด้วยรหัสผ่าน , จากนั้นก็ทำการกด Create
68.jpg
68.jpg (42.66 KiB) Viewed 2990 times

Step 3 - จากนั้น ก็เข้าไปที่ File manager
69.jpg
69.jpg (23.99 KiB) Viewed 2990 times

Step 4 - แล้วทำการคลิกที่ root directory ของ Folder
70.JPG
70.JPG (24.38 KiB) Viewed 2990 times

Step 5 - แล้วคลิกปุ่ม ตรงแถบเมนู ในการ Upload File ทั้งหมด
71.JPG
71.JPG (15.94 KiB) Viewed 2990 times

Step 6 - จากนั้นก็ทำการคลิกตรงที่ Select Files
71-1.JPG
71-1.JPG (28.81 KiB) Viewed 2990 times

Step 7 - จากนั้นก็ทำการเลือก Folder ทั้งหมด ของ File Laravel , โดยปกติแล้ว ต้องทำการ Upload file เป็น .zip ซะก่อน , แล้วค่อยทำการแตก File บน Server อีกทีหลัง , แต่ติดปัญหาตรงที่ไม่ได้สามารถแตก File บน Server , เนื่องจากเกิด Error แจ้งเตือนขึ้นว่า ใน .zip มี Folder ย่อยเยอะเกินไป , จึงไม่แน่ใจว่า ทาง Web free Hosting ได้มีการ Update อะไรใหม่ๆหรือเปล่า , จึงต้องทำการ Upload File โดยตรง อาจจะต้องใช้เวลานานในการ Upload file พอสมควร
72-1.jpg
72-1.jpg (70.68 KiB) Viewed 2990 times

Step 8 - จากนั้นก็กดปุ่ม Upload
73.JPG
73.JPG (40.23 KiB) Viewed 2990 times

Step 9 - เมื่อเรา Upload File เสร็จแล้ว , ให้มองหา Folder public กับ public_html , จากนั้นก็ทำการลบ Folder public_html ออก , แล้วทำการเปลี่ยนชื่อ Folder public เป็น public_html , เพื่อที่จะให้ตัว server หาตัว Folder public_html เจอได้ , เพื่อที่จะต้องการให้แสดงหน้า Website ออกมา
74.JPG
74.JPG (20.3 KiB) Viewed 2990 times

Step 11 - ให้เข้าไปที่ app/Providers
75.JPG
75.JPG (16.63 KiB) Viewed 2990 times

Step 12 - จากนั้นก็ทำการคลิก File AppServiceProvider.php
76.JPG
76.JPG (35.94 KiB) Viewed 2990 times

Step 13 - คราวนี้ พอ Upload file Laravel Framework ขึ้นไป Host , Laravel Framework มันจะมองหา Folder public , แต่ตัว Server มันจะมองหา Folder public_html , คราวนี้เวลาแสดงผลหน้า Website มันจะไม่ตรงกันแล้ว , ก็ต้องไปทำการตั้งค่า ให้ตัว app Laravel Framework กับ Server 000Webhost.com , ให้มันมองหาตรงกันที่ public_html โดยใช้คำสั่ง return base_path('public_html'); ดังนี้
77.JPG
77.JPG (24.04 KiB) Viewed 2990 times
ตัวอย่าง Code :

โค้ด: เลือกทั้งหมด

<?php

namespace App\Providers;

use Illuminate\Support\ServiceProvider;

class AppServiceProvider extends ServiceProvider
{
    /**
     * Register any application services.
     *
     * @return void
     */
    public function register()
    {
        return base_path('public_html');
    }

    /**
     * Bootstrap any application services.
     *
     * @return void
     */
    public function boot()
    {
        //
    }
}

Step 14 - คราวนี้เราจะมาทำการสร้าง Database ใน Server กัน , ให้เข้าไปที่ Tool , จากนั้นก็ไปที่ Database Manager
77-1.JPG
77-1.JPG (20.04 KiB) Viewed 2990 times

Step 15 - แล้วทำการคลิกปุ่ม New Database
77-2.JPG
77-2.JPG (15.31 KiB) Viewed 2990 times

*************** มี Post ต่อ จาก Post เดิม ************************
แก้ไขล่าสุดโดย makup เมื่อ 21/10/2020 5:26 pm, แก้ไขไปแล้ว 1 ครั้ง.
makup
PHP Super Member
PHP Super Member
โพสต์: 398
ลงทะเบียนเมื่อ: 05/10/2020 10:02 am

Re: สอนเขียนวิธี Upload File Laravel ขึ้น Server

โพสต์ที่ยังไม่ได้อ่าน โดย makup »

Step 16 - จากนั้นก็ตั้งชื่อ Database , และ ตั้งชื่อ Username , แล้วทำการตั้ง Password , แล้วทำการ Create
77-3.JPG
77-3.JPG (42.01 KiB) Viewed 2990 times
Step 17 - จากนั้นก็ไปที่ Folder config
78.JPG
78.JPG (14.61 KiB) Viewed 2990 times
Step 18 - แล้วคลิกเข้าไปที่ File database.php
79.JPG
79.JPG (26.84 KiB) Viewed 2990 times

Step 19 - จากนั้นก็ทำการ คลุมข้อความ , แล้ว Copy DB_Database , DB_name , DB_Host ของ database บน Server
ที่เราได้ทำการสร้างเอาไว้
80.JPG
80.JPG (29.51 KiB) Viewed 2990 times


Step 20 - แล้วไปวางไว้ตรงที่ DB_Host , DB_Database , DB_Username , ส่วน DB_Password ก็คือรหัสที่เราตั้งไว้บน Server
80-1.jpg
80-1.jpg (127.77 KiB) Viewed 2990 times
ตัวอย่าง Code :

โค้ด: เลือกทั้งหมด

<?php

use Illuminate\Support\Str;

return [

    /*
    |--------------------------------------------------------------------------
    | Default Database Connection Name
    |--------------------------------------------------------------------------
    |
    | Here you may specify which of the database connections below you wish
    | to use as your default connection for all database work. Of course
    | you may use many connections at once using the Database library.
    |
    */

    'default' => env('DB_CONNECTION', 'mysql'),

    /*
    |--------------------------------------------------------------------------
    | Database Connections
    |--------------------------------------------------------------------------
    |
    | Here are each of the database connections setup for your application.
    | Of course, examples of configuring each database platform that is
    | supported by Laravel is shown below to make development simple.
    |
    |
    | All database work in Laravel is done through the PHP PDO facilities
    | so make sure you have the driver for your particular database of
    | choice installed on your machine before you begin development.
    |
    */

    'connections' => [

        'sqlite' => [
            'driver' => 'sqlite',
            'url' => env('DATABASE_URL'),
            'database' => env('DB_DATABASE', database_path('database.sqlite')),
            'prefix' => '',
            'foreign_key_constraints' => env('DB_FOREIGN_KEYS', true),
        ],

        'mysql' => [
            'driver' => 'mysql',
            'url' => env('DATABASE_URL'),
            'host' => env('DB_HOST', 'localhost'),
            'port' => env('DB_PORT', '3306'),
            'database' => env('DB_DATABASE', 'id15176154_table_airport'),
            'username' => env('DB_USERNAME', 'id15176154_root'),
            'password' => env('DB_PASSWORD', '*******'),
            'unix_socket' => env('DB_SOCKET', ''),
            'charset' => 'utf8mb4',
            'collation' => 'utf8mb4_unicode_ci',
            'prefix' => '',
            'prefix_indexes' => true,
            'strict' => true,
            'engine' => null,
            'options' => extension_loaded('pdo_mysql') ? array_filter([
                PDO::MYSQL_ATTR_SSL_CA => env('MYSQL_ATTR_SSL_CA'),
            ]) : [],
        ],

        'pgsql' => [
            'driver' => 'pgsql',
            'url' => env('DATABASE_URL'),
            'host' => env('DB_HOST', '127.0.0.1'),
            'port' => env('DB_PORT', '5432'),
            'database' => env('DB_DATABASE', 'forge'),
            'username' => env('DB_USERNAME', 'forge'),
            'password' => env('DB_PASSWORD', ''),
            'charset' => 'utf8',
            'prefix' => '',
            'prefix_indexes' => true,
            'schema' => 'public',
            'sslmode' => 'prefer',
        ],

        'sqlsrv' => [
            'driver' => 'sqlsrv',
            'url' => env('DATABASE_URL'),
            'host' => env('DB_HOST', 'localhost'),
            'port' => env('DB_PORT', '1433'),
            'database' => env('DB_DATABASE', 'forge'),
            'username' => env('DB_USERNAME', 'forge'),
            'password' => env('DB_PASSWORD', ''),
            'charset' => 'utf8',
            'prefix' => '',
            'prefix_indexes' => true,
        ],

    ],

    /*
    |--------------------------------------------------------------------------
    | Migration Repository Table
    |--------------------------------------------------------------------------
    |
    | This table keeps track of all the migrations that have already run for
    | your application. Using this information, we can determine which of
    | the migrations on disk haven't actually been run in the database.
    |
    */

    'migrations' => 'migrations',

    /*
    |--------------------------------------------------------------------------
    | Redis Databases
    |--------------------------------------------------------------------------
    |
    | Redis is an open source, fast, and advanced key-value store that also
    | provides a richer body of commands than a typical key-value system
    | such as APC or Memcached. Laravel makes it easy to dig right in.
    |
    */

    'redis' => [

        'client' => env('REDIS_CLIENT', 'phpredis'),

        'options' => [
            'cluster' => env('REDIS_CLUSTER', 'redis'),
            'prefix' => env('REDIS_PREFIX', Str::slug(env('APP_NAME', 'laravel'), '_').'_database_'),
        ],

        'default' => [
            'url' => env('REDIS_URL'),
            'host' => env('REDIS_HOST', '127.0.0.1'),
            'password' => env('REDIS_PASSWORD', null),
            'port' => env('REDIS_PORT', '6379'),
            'database' => env('REDIS_DB', '0'),
        ],

        'cache' => [
            'url' => env('REDIS_URL'),
            'host' => env('REDIS_HOST', '127.0.0.1'),
            'password' => env('REDIS_PASSWORD', null),
            'port' => env('REDIS_PORT', '6379'),
            'database' => env('REDIS_CACHE_DB', '1'),
        ],

    ],

];
Step 21 - คลิกที่ root directory
81.JPG
81.JPG (19.4 KiB) Viewed 2990 times


Step 22 - จากนั้นมองหา File .env
82.JPG
82.JPG (23.16 KiB) Viewed 2990 times


Step 23 - แล้วทำการเปลี่ยน DB_HOST , DB_DATABASE , DB_USERNAME , DB_PASSWORD เหมือน Step 20
83.jpg
83.jpg (57.14 KiB) Viewed 2990 times
ตัวอย่าง Code :

โค้ด: เลือกทั้งหมด

APP_NAME=Table_airport
APP_ENV=local
APP_KEY=base64:43Akx5AYID65akVdhXjCZm6nhG9Grp2yHX2eRFNxbzo=
APP_DEBUG=true
APP_URL=http://localhost

LOG_CHANNEL=stack

DB_CONNECTION=mysql
DB_HOST=localhost
DB_PORT=3306
DB_DATABASE=id15176154_table_airport
DB_USERNAME=id15176154_root
DB_PASSWORD=*******

BROADCAST_DRIVER=log
CACHE_DRIVER=file
QUEUE_CONNECTION=sync
SESSION_DRIVER=file
SESSION_LIFETIME=120

REDIS_HOST=127.0.0.1
REDIS_PASSWORD=null
REDIS_PORT=6379

MAIL_MAILER=smtp
MAIL_HOST=smtp.mailtrap.io
MAIL_PORT=2525
MAIL_USERNAME=null
MAIL_PASSWORD=null
MAIL_ENCRYPTION=null
MAIL_FROM_ADDRESS=null
MAIL_FROM_NAME="${APP_NAME}"

AWS_ACCESS_KEY_ID=
AWS_SECRET_ACCESS_KEY=
AWS_DEFAULT_REGION=us-east-1
AWS_BUCKET=

PUSHER_APP_ID=
PUSHER_APP_KEY=
PUSHER_APP_SECRET=
PUSHER_APP_CLUSTER=mt1

MIX_PUSHER_APP_KEY="${PUSHER_APP_KEY}"
MIX_PUSHER_APP_CLUSTER="${PUSHER_APP_CLUSTER}"

Step 24 - เข้าไปที่ phpmyadmin ของคอมพิวเตอร์ , จากนั้นคลิกที่ตารางในฐานข้อมูล
83-1.JPG
83-1.JPG (25.9 KiB) Viewed 2990 times

Step 25 - แล้วทำการคลิกปุ่ม Export , เพื่อทำการนำ File ฐานข้อมูลไปใช้งาน
83-2.JPG
83-2.JPG (21.76 KiB) Viewed 2990 times

Step 26 - กลับไปที่ Website 000webhost.com , แล้วไปที่ฐานข้อมูลของ Server , แล้วทำการคลิกปุ่ม Manage , แล้วเลือก PhpMyAdmin
83-3.jpg
83-3.jpg (41.12 KiB) Viewed 2990 times
Step 27 - จากนั้นคลิกที่ตัว Database ในฐานข้อมูล ของ Server Website 000webhost.com
83-4.JPG
83-4.JPG (26.12 KiB) Viewed 2990 times

Step 28 - จากนั้นทำการ Import File , โดยนำ File จากฐานข้อมูล คอมพิวเตอร์เข้ามาใส่ใน ฐานข้อมูล Server Website 000webhost.com
83-5.JPG
83-5.JPG (34.8 KiB) Viewed 2990 times

Step 29 - ทำการเลือก File ที่จะ Import นำเข้ามา
83-6.JPG
83-6.JPG (53.31 KiB) Viewed 2990 times

Step 30 - เลือก File ฐานข้อมูล
83-7.JPG
83-7.JPG (20.52 KiB) Viewed 2990 times
*************** มี Post ต่อ จาก Post เดิม ************************
แก้ไขล่าสุดโดย makup เมื่อ 21/10/2020 5:27 pm, แก้ไขไปแล้ว 1 ครั้ง.
makup
PHP Super Member
PHP Super Member
โพสต์: 398
ลงทะเบียนเมื่อ: 05/10/2020 10:02 am

Re: สอนเขียนวิธี Upload File Laravel ขึ้น Server

โพสต์ที่ยังไม่ได้อ่าน โดย makup »

Step 31 - จากนั้นก็จะได้ตัวตาราง Colums Database มา
83-8.JPG
83-8.JPG (35.23 KiB) Viewed 2990 times



Step 32 - ตัว Project เดิม อาจจะมีตัว แคช ที่ติดอยู่ เราก็จะทำการเคลียร์ แคชทิ้ง โดยการทำการ integate ให้ตัว app ทำงานกับตัว server ของเรา , โดยเข้าไปที่ root directory เหมือนเดิม , จากนั้นก็มองหา File .env , แล้วมองหา APP_Key=base64 : , เราจะทำการ Copy key
84.JPG
84.JPG (24.31 KiB) Viewed 2990 times
Step 33 - จากนั้นก็ไปที่ Folder config
85.JPG
85.JPG (14.81 KiB) Viewed 2990 times

Step 34 - แล้วไปที่ File app.php
86.JPG
86.JPG (24.6 KiB) Viewed 2990 times


Step 35 - จากนั้นก็เลื่อนดูบรรทัดข้างหลัง , แล้วมองหา key' => env('APP_KEY')), แล้วทำการ decode base64 โดยใช้คำสั่งเหมือนในรูปภาพดังนี้
87.JPG
87.JPG (56.19 KiB) Viewed 2990 times
ตัวอย่าง Code :

โค้ด: เลือกทั้งหมด

'key' => env('APP_KEY',base64_decode('43Akx5AYID65akVdhXjCZm6nhG9Grp2yHX2eRFNxbzo=')),

    'cipher' => 'AES-256-CBC',
Step 36 - จากนั้นก็ไปที่ route/web.php
87-1.JPG
87-1.JPG (15.27 KiB) Viewed 2990 times


Step 37 - จากนั้นก็ทำการตั้งชื่อ Routing เพื่อให้แสดงหน้าแรกของ Website , โดยใส่เครื่องหมาย /
87-2.JPG
87-2.JPG (12.93 KiB) Viewed 2990 times

โค้ด: เลือกทั้งหมด

Route::get('/','Controller_show_airport@index'); 

Step 38 - จากนั้นก็ลองทำการพิมพ์ URL เหมือนดังในรูปนี้
88.JPG
88.JPG (10.6 KiB) Viewed 2990 times

ผลลัพธ์ที่ได้
89.JPG
89.JPG (97.9 KiB) Viewed 2990 times

ข้อสรุป
ในการ Upload file laravel Framework ขึ้น Server นั้น , มีความแตกต่างกันพออยู่สมควร กับการ Upload file php แบบธรรมดาไป , ซึ่งจะต้องมีการตั้งค่า เพื่อให้ตัว app กับ server hosting ให้มองการทำงานที่จุดเดียวกันกับ public_html , หากต้องการศึกษาบทเรียน Laravel Framework เพิ่มเติม สามารถศึกษาได้จากบทเรียนรวมกระทู้นี้


แหล่งอ้างอิงข้อมูล
https://www.youtube.com/watch?v=ZyPU6EsfWUs&t=1208s
https://survivor2558.wordpress.com/2019/06/27/การอัพโหลดเว็บ-laravel-ขึ้น-host-โด/
https://www.memo8.com/how-to-upload-laravel5-to-share-hosting-remove-public-folder/
ตอบกลับโพส
  • Similar Topics
    ตอบกลับ
    แสดง
    โพสต์ล่าสุด

ผู้ใช้งานขณะนี้

สมาชิกกำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิกใหม่ และบุคลทั่วไป 49