ความหมายของ DML (ดีเอ็มเอล) - Data Manipulation Language คืออะไร

SQL Knowledge ทั้ง sql มาตรฐาน หลักการออกแบบฐานข้อมูล ความสัมพันธ์ของ ตาราง Mysql , PGSQL, Oracle, MSSQL

Moderator: mindphp, ผู้ดูแลกระดาน

ภาพประจำตัวสมาชิก
pprn
PHP Super Hero Member
PHP Super Hero Member
โพสต์: 565
ลงทะเบียนเมื่อ: 02/07/2018 10:45 am

ความหมายของ DML (ดีเอ็มเอล) - Data Manipulation Language คืออะไร

โพสต์ที่ยังไม่ได้อ่าน โดย pprn »

  • DML (Data Manipulation Language) คือ ประเภทหนึ่งของคำสั่งภาษา SQL เป็นภาษาสำหรับจัดการข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ใน
ตารางฐานข้อมูล (Database) ซึ่งในกลุ่มภาษา DML นั้นจะครอบคลุมการจัดการข้อมูลทั้งหมด เช่น การเพิ่ม (INSERT), แก้ไข (UPDAT),

ค้นหา (SELECT) และลบข้อมูล (DELETE) โดยคำสั่งต่าง ๆ มีดังนี้


1. คำสั่ง SELECT
  • เป็นคำสั่งที่ใช้ในการเรียกค้นข้อมูลจากฐานข้อมูล (Database) มาแสดงตามที่ผู้ใช้ต้องการในการเรียกค้นข้อมูลสามารถใช้คำสั่งได้หลายลักษณะ
เช่น การ SELECT ไม่มีมีเงื่อนไข, การ SELECT แบบมีเงื่อนไข และการ SELECT โดยใช้ฟังก์ชั่น (function) ต่างๆ เป็นต้น ดังตัวอย่างต่อไปนี้


[list][list]1.1. การ SELECT ไม่มีมีเงื่อนไข [/list][/list]
      • โค้ด SELECT แบบไม่มีเงื่อนไข
    • อธิบายโค้ด SELECT ไม่มีมีเงื่อนไข
        • - table_name คือ ชื่อตารางข้อมูล
          - column_name คือ ชื่อคอลัมน์
[list][list]1.1. การ SELECT แบบมีเงื่อนไข (SELECT...WHERE...) [/list][/list]
      • โค้ด SELECT แบบมีเงื่อนไข (SELECT...WHERE...)
    • อธิบายโค้ด SELECT แบบมีเงื่อนไข (SELECT...WHERE...)
        • - table_name คือ ชื่อตารางข้อมูล
          - column_name คือ ชื่อคอลัมน์
          - condition คือ เงื่อนไข
[list][list]1.1. การ SELECT โดยใช้ฟังก์ชั่น (function) ต่างๆ [/list][/list]
      • โค้ด SELECT โดยใช้ฟังก์ชั่น (function) ต่างๆ
      • ฟังก์ชั่น (function) พิเศษนี้นำไปใช้โดยใส่ไว้หลังคำสั่ง SELECT และตามด้วยชื่อคอลัมน์ เป็นการกำหนดว่าให้ฟังก์ชั่นนี้กระทำกับ คอลัมน์ใด ๆ
      • อธิบายโค้ด SELECT โดยใช้ฟังก์ชั่น (function) ต่างๆ
          • - table_name คือ ชื่อตารางข้อมูล
            - field_name (ชื่อฟิลด์) หรือก็คือ column_name (ชื่อคอลัมน์)
        • เป็นคำสั่งพิเศษที่มีอยู่ในภาษา SQL ได้แก่คำสั่งต่อไปนี้
          • - COUNT ใช้สำหรับนับจำนวนแถวข้อมูลของคอลัมน์ ว่าในคอลัมน์นั้นมีข้อมูลจำนวนกี่แถว

            - SUM ใช้สำหรับหาผลรวมข้อมูลที่เป็นตัวเลขของคอลัมน์

            - AVG ใช้สำหรับหาค่าเฉลี่ยของข้อมูลที่เป็นตัวเลขของคอลัมน์

            - MAX ใช้สำหรับหาค่าข้อมูลตัวเลขที่มากที่สุดของคอลัมน์

            - MIN ใช้สำหรับหาค่าข้อมูลตัวเลขที่น้อยที่สุดของคอลัมน์

    2. คำสั่ง INSERT
    • INSERT คือ คำสั่งเพื่อเพิ่มข้อมูลเข้าไปในตาราง โดยมีรูปแบบดังนี้
      • โค้ด INSERT
      • อธิบายโค้ด INSERT
          • - table_name คือ ชื่อตารางข้อมูล
            - value1,value_2 คือ ค่าที่ต้องการใส่ลงไป
    3. คำสั่ง UPDATE (อัพเดท)
    • UPDATE คือ คำสั่งสำหรับการปรับปรุง หรือแก้ไขข้อมูลในตารางข้อมูล โดยสามารถใช้งานรวมกับคำสั่ง WHERE เพื่อสร้างเงื่อนไขในการแก้ไขข้อมูล
      • โค้ด UPDATE (อัพเดท)
      • อธิบายโค้ด UPDATE (อัพเดท)
          • - table_name คือ ชื่อตารางข้อมูล
            - field_name (ชื่อฟิลด์) หรือก็คือ column_name (ชื่อคอลัมน์)
            - value คือ ค่าที่ต้องการใส่ลงไป
            - condition คือ เงื่อนไข

    4. คำสั่ง DELETE
    • DELETE คือ คำสั่งเพื่อลบแถวข้อมูลออกจากตาราง ซึ่งจะลบข้อมูลเฉพาะที่ตรงกับเงื่อนไขที่ต้องการ โดยมีรูปแบบดังนี้
      • โค้ด DELETE
      • อธิบายโค้ด
          • - table_name คือ ชื่อตารางข้อมูล
            - condition คือ เงื่อนไข

    ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
    _____________________________________________________________________________________________
    บทความนี้เเป็นบทความที่จัดทำขึ้นเพื่อเนะนำเครื่องมือช่วยสำหรับนักพัฒนา SQL ซึ่งเป็นความรู้พื้นฐานในการพัฒนา phpMyadmin ต่อไป เเละขอเเนะนำความรู้ที่เกี่ยวข้องกับโดยสามารถศึกษาได้จากบทเรียน SQL ได้ที่นี่ เพื่อเพิ่มความเข้าใจในการใช้งานเครื่องมือต่างๆ ค่ะ
    _____________________________________________________________________________________________

    ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
    • Similar Topics
      ตอบกลับ
      แสดง
      โพสต์ล่าสุด

    ผู้ใช้งานขณะนี้

    สมาชิกกำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิกใหม่ และบุคลทั่วไป 33