5. Model
5.1 สร้างโฟลเดอร์สำหรับเก็บไฟล์ Model
5.2 สร้า้งไฟล์ a.php
Code ของไฟล์ models/a.php
บรรทัดที่ 3 : นำเข้า model ของ Joomla
บรรทัดที่ 5 : สร้างคลาสชื่อ HellomindphpModelA (ขึ้นต้นด้วย "ชื่ิอของ Component" ตามด้วยคำว่า "Model" และ "ชื่อของ Model") โดยการสืบทอดคุณสมบัติมาจากคลาส JModel
บรรทัดที่ 6 : สร้าง Method ชื่อ getData และส่งค่า "วันที่" กลับคืนให้ Method
บรรทัดที่ 9 : สร้าง Method ชื่อ validateData และส่งค่า "true" กลับคืนให้ Method
6. การทำงานระหว่าง Model กับ Controller
6.1 เปิดไฟล์ controllers/a.php เพิ่มโค็ดบรรทัดที่ 8 - 17
บรรทัดที่ 8 : สร้างตัวแปร $model แล้วเก็บค่าเป็น Object ของ Model ที่ชื่อ a
บรรทัดที่ 10 : เรียกใช้งานเมธอด validateData()
บรรทัดที่ 16 - 17 : เป็นการกำหนดให้ Controller นี้เรียกใช้ view ที่ชื่อ a และ layout ที่ชื่อ default
6.2 ทดสอบการทำงานระหว่าง Model กับ Controllerโดยพิมพ์บรรทัดข้างลงใน address bar
http://localhost/joomla/index.php?option=com_hellomindphp&controller=a
7. การทำงานระหว่าง View กับ Model
7.1 เปิดไฟล์ views/a/view.html.php เพิ่มโค็ดบรรทัดที่ 8 - 9
บรรทัดที่ 8 : เรียกใช้งานเมธอด getData() และเก็บค่าไว้ในตัวแปร $mydata
บรรทัดที่ 9 :เป็นการสร้างตัวแปรชื่อ item และใส่ค่า ($mydata) ให้กับตัวแปรนี้ เพื่อนำไปแสดงใน layout
7.2 เปิดไฟล์ views/a/tmpl/default.php เพิ่มโค็ดบรรทัดที่ 5
7.3 ทดสอบการทำงานระหว่าง Model กับ View โดยพิมพ์บรรทัดข้างลงใน address bar
http://localhost/joomla/index.php?option=com_hellomindphp&controller=a