Array Function ใน PHP เบื้องต้น ฟังก์ชั่นใช้บ่อย

ตอบกระทู้

รูปแสดงอารมณ์
:icon_plusone: :like: :plusone: :gfb: :-D :) :( :-o 8O :? 8) :lol: :x :P :oops: :cry: :evil: :twisted: :roll: :wink: :!: :?: :idea: :arrow: :| :mrgreen: :angry: :baa: :biggrin:
รูปแสดงอารมณ์อื่นๆ

BBCode เปิด
[img] เปิด
[url] เปิด
[Smile icon] เปิด

กระทู้แนะนำ
   

มุมมองที่ขยายได้ กระทู้แนะนำ: Array Function ใน PHP เบื้องต้น ฟังก์ชั่นใช้บ่อย

Array Function ใน PHP เบื้องต้น ฟังก์ชั่นใช้บ่อย

โดย จันนุสรณ์ ดีแก่ » 21/11/2018 12:23 pm

1. Count() เป็นการนับจำนวนในอาเลย์ ในตัวอย่างนี้เป็นการนับจำนวนอักษรของข้อมูลในอาเลย์ ซึ่งได้กำหนดข้อความในอาเลย์ คือ HELLO ข้อความที่แสดงออกมาจึงเป็น 5 เพราะถูกนับได้ 5 ตัว

โค้ด: เลือกทั้งหมด

<html>
    <head>
        <meta charset="UTF-8">
        <title>Built=in Function</title>
     <h1>Array Function</h1>
     
    </head>
    <body>
        <?php
        
      $arr = array('H','E','L','L','O');// เป็นการกำหนดตัวแปรให้กับอาเลย์ ใน 1 ชุดในที่นี่กำหนดว่า HELLO
     echo count($arr);//เรียกใช้คำสั่ง เคาท์ เพื่อนับตัวแปรของจำนวนที่เรากำหนด และแสดงผลออกมาทางหน้าจอ
              
      
        ?>
    </body>
</html>
Screenshot (150).png
ผลลัพธ์ของโปรแกรม
Screenshot (151).png
2. in_array() เป็นคำสั่งตรวจสอบค่าว่ามีอยู่ในอาเลย์หรือเปล่า ตัวอย่างนี้ก็เช่นกัน เรียกใช้คำสั่งอินอาเลย์ในการดูข้อมูลว่ามีตัว O กี่ตัวเมื่อเรียกใช้ฟังชั่นแล้ว จะพบว่า แสดงผลเป็น 1 เพราะว่า ใน HELLO นั้นมีตัว O เพียงตัวเดียว

โค้ด: เลือกทั้งหมด

<html>
    <head>
        <meta charset="UTF-8">
        <title>Built=in Function</title>
     <h1>Array Function</h1>
     
    </head>
    <body>
        <?php
        
      $arr = array('H','E','L','L','O');// เป็นการกำหนดตัวแปรให้กับอาเลย์ ใน 1 ชุดในที่นี่กำหนดว่า HELLO
     echo in_array('O',$arr);//เรียกใช้คำสั่งอินอาเลย์ในการนับค่าอาเลย์
      
        ?>
    </body>
</html>
Screenshot (153).png
ผลลัพธ์
Screenshot (154).png
3. array_unique() อาเลย์ยูนิฟเป็นการนับจำนวนอาเลย์ที่ซ้ำกัน แต่จะไม่ดึงค่าที่ซ้ำกันออกมาแสดง

โค้ด: เลือกทั้งหมด

<html>
    <head>
        <meta charset="UTF-8">
        <title>Built=in Function</title>
     <h1>Array Function</h1>
     
    </head>
    <body>
        <?php
        
      $arr = array('H','E','L','L','O');// เป็นการกำหนดตัวแปรให้กับอาเลย์ ใน 1 ชุดในที่นี่กำหนดว่า HELLO
    print_r(array_unique($arr));//เรียกใช้คำสั่งอาเลย์ยูนิฟในการนับค่าอาเลย์แต่จะไม่ดึงค่าที่ซ้ำกันออกมาแสดง
      
        ?>
    </body>
</html>
Screenshot (156).png
ผลลัพธ์ เหตุผลที่แสดงแบบนี้เพราะ อาเลย์ยูนิฟแสดงค่า index แต่ล่ะตัวออกมาแสดง แต่มันไม่แสดงค่าซ้ำกัน สังเกตุที่ L เป็นการแสดงค่าออกมาแค่ตัวเดียว
Screenshot (157).png
4. array_unshift() อาเรย์อันชิฟเป็นฟังก์ชั่นใช้ในการเพิ่มค่าเข้าไปในอาเลย์แต่จะเพิ่มไปในตำแหน่งแรกสุด

โค้ด: เลือกทั้งหมด

<html>
    <head>
        <meta charset="UTF-8">
        <title>Built=in Function</title>
     <h1>Array Function</h1>
     
    </head>
    <body>
        <?php
        
      $arr = array('H','E','L','L','O');// เป็นการกำหนดตัวแปรให้กับอาเลย์ ใน 1 ชุดในที่นี่กำหนดว่า HELLO
    array_unshift($arr,'TEST');//เรียกใช้คำสั่งอันชิฟในการเพิ่มข้อมูลให้กับอาเลย์ในที่นี่เพิ่มคำว่า TEST
      print_r($arr);//และใช้คำสั่ง print_r เพื่อดูคำสั่ง index ของอาเลย์
        ?>
    </body>
</html>
Screenshot (159).png
ผลลัพธ์
Screenshot (160).png
5. array_push() อาเลย์พุช เป็นฟังก์ชั่นใช้ในการเพิ่มค่าเข้าไปในอาเลย์แต่จะเพิ่มไปในตำแหน่งสุดท้าย

โค้ด: เลือกทั้งหมด

<html>
    <head>
        <meta charset="UTF-8">
        <title>Built=in Function</title>
     <h1>Array Function</h1>
     
    </head>
    <body>
        <?php
        
      $arr = array('H','E','L','L','O');// เป็นการกำหนดตัวแปรให้กับอาเลย์ ใน 1 ชุดในที่นี่กำหนดว่า HELLO
      
    array_push($arr, 'TEST');//เรียกใช้คำสั่งอาเลย์พุชในการเพิ่มข้อมูลให้กับอาเลย์ในที่นี่เพิ่มคำว่า TEST ผลลัพธ์ที่จะแสดงนั้นแตกต่างจากคำสั่ง อันชิฟคือผลลัพธ์ที่ได้จะอยู่ด้านหลังข้อความเป้นตำแหน่งสุดท้าย
      print_r($arr);//และใช้คำสั่ง print_r เพื่อดูคำสั่ง index ของอาเลย์
       
      ?>
    </body>
</html>
Screenshot (162).png
ผลลัพธ์
Screenshot (163).png
6. array_shift() อาเลย์ชิฟเป็นการนำค่าออกจากอาเลย์ ซึ่งเป็นการนำค่าออกจากอาเลย์ในตำแหน่งแรกสุด จากตัวอย่างด้านล่างนี้เมื่อดูผลลัพธ์ของโปรแกรมทำให้ทราบว่า ตัว H หายไปเมื่อเรียกใช้คำสั่งของโปรแกรม array_shift()

โค้ด: เลือกทั้งหมด

<html>
    <head>
        <meta charset="UTF-8">
        <title>Built=in Function</title>
     <h1>Array Function</h1>
     
    </head>
    <body>
        <?php
        
      $arr = array('H','E','L','L','O');// เป็นการกำหนดตัวแปรให้กับอาเลย์ ใน 1 ชุดในที่นี่กำหนดว่า HELLO
      
    array_shift($arr);//เรียกใช้คำสั่งอาเลย์ชิฟในการลบข้อมูลของอาเลย์ในตำแหน่งแรกสุด
      print_r($arr);//และใช้คำสั่ง print_r เพื่อดูคำสั่ง index ของอาเลย์
       
      ?>
    </body>
</html>
Screenshot (165).png
ผลลัพธ์
Screenshot (166).png
7. array_pop() อาเลย์ป๊อป เป็นการดึงค่าสุดท้ายของชุดอาเลย์ออก ดังตัวอย่างต่อไปนี้เป็นการดึงอาเลย์ ของคำว่า HELLO ถ้าสังเกตุผลลัพธ์ทำให้ทราบว่า ตัว O หายไปเมื่อใช้คำสั่ง array_pop()

โค้ด: เลือกทั้งหมด

<html>
    <head>
        <meta charset="UTF-8">
        <title>Built=in Function</title>
     <h1>Array Function</h1>
     
    </head>
    <body>
        <?php
        
      $arr = array('H','E','L','L','O');// เป็นการกำหนดตัวแปรให้กับอาเลย์ ใน 1 ชุดในที่นี่กำหนดว่า HELLO
      
    array_pop($arr);//เรียกใช้คำสั่งอาเลย์ป๊อปในการลบข้อมูลของอาเลย์ในตำแหน่งท้ายสุด
      print_r($arr);//และใช้คำสั่ง print_r เพื่อดูคำสั่ง index ของอาเลย์
       
      ?>
    </body>
</html>
Screenshot (168).png
ผลลัพธ์
Screenshot (169).png
และสามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก https://www.youtube.com/watch?v=oZ6SJ5WcHjo&t=190s

ข้างบน