อาเรย์ (Array) ก็คือประเภทข้อมูลที่จะเก็บข้อมูลแบบเป็นข้อมูลชุดที่จะเรียงต่อกันไป อาเรย์ก็เป็น
ตัวแปลประเภทหนึ่งในภาษาของ
php ที่เราจะเลือกใช้ในการเก็บข้อมูลได้มากกว่าหนึ่งค่าซึ่งอาเรย์จะมีการเรียกใช้ในกรณีที่จะต้องเก็บข้อมูลประเดียวกันหลาย ๆ ตัวโดยที่ไม่ต้องเก็บข้อมูลที่ละตัวแปล ยกตัวอย่างเช่น จะเก็บคะแนนข้อมูลคะแนนของนักเรียนทุกคนในห้องเราก็จะเก็บในตัวแปลอาเรย์ก็จะสะดวกกว่าในการเก็บข้อมูลประเภทนี้นั้นเอง อาเรย์สามารถมีได้หลายมิติไม่ว่าจะเป็น อาเรย์แบบมิติเดียว , อาเรย์แบบ 2 มิติ และ อาเรย์แบบ 3 มิติ
ตัวอย่างการสร้าง อาเรย์
Code: Select all
<?php
$fruits = array(
'แก้วมังกร',
'กล้วย',
'กีวี่'
);
?>
จาก
โค้ดข้างบนจะเห็นได้ว่าอาเรย์ $fruits เก็บค่าเอาไว้ 3 ค่าคือ แก้วมักกร กล้วย กีวี่
หรือจะใช้การสร้างอาเรย์แบบนี้ก็ได้
Code: Select all
<?php
$fruits = [
'แก้วมังกร',
'กล้วย',
'กีวี่'
];
แบบนี้เราก็สามารถเก็บค่าอาเรย์ได้เหมือนกัน
การแสดงผล array ด้วยคำสั่ง print_r()
Code: Select all
<?php
$fruits = [
'แก้วมังกร',
'กล้วย',
'กีวี่'
];
print_r($fruits);
ผลลัพธ์ที่ได้
Code: Select all
Array ( [0] => แก้วมังกร [1] => กล้วย [2] => กีวี่ )
การแสดงผล array ด้วยคำสั่ง echo ปกติเราจะไม่สามารถแสดงค่าทั้งหมดของได้ด้วย echo แค่ครั้งเดียวแต่เราสามารถเลือกการแสงผลได้แค่ค่าเดียวเช่นเราอยากจะให้แสดงค่ากล้วยอย่างเดียว
Code: Select all
$fruits = [
'แก้วมังกร',
'กล้วย',
'กีวี่'
];
echo $fruits[1];
ผลลัพธ์ที่ได้
เป็นอย่างไรบ้างครับสำหรับการแนะนำอาเรย์สำหรับบทความนี้หวังว่าจะเป็นบทความที่ดีและมีประโชน์สำหรับผู้ที่สนใจเข้ามาอ่านกันบ้างนะครับทางผู้เขียนบทความนี้ก็มีความตั้งใจว่าผู้ที่ได้เข้ามาอ่านจะได้ความรู้จากบทความนี้ไม่มากก็น้อยและหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะนำความรู้นี้ไปใช้ประโยชน์หรือนำไปส่งต่อความรู้ให้แก่ผู้ที่สนใจเช่นเดียวกับพวกเรานะครับ
อาเรย์ (Array) ก็คือประเภทข้อมูลที่จะเก็บข้อมูลแบบเป็นข้อมูลชุดที่จะเรียงต่อกันไป อาเรย์ก็เป็น[url=https://mindphp.com/%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD/73-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/7084-what-are-the-variables-in-the-meaning-of-computer-language.html]ตัวแปล[/url]ประเภทหนึ่งในภาษาของ [url=https://www.mindphp.com/%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD/73-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/2127-php-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3.html]php[/url] ที่เราจะเลือกใช้ในการเก็บข้อมูลได้มากกว่าหนึ่งค่าซึ่งอาเรย์จะมีการเรียกใช้ในกรณีที่จะต้องเก็บข้อมูลประเดียวกันหลาย ๆ ตัวโดยที่ไม่ต้องเก็บข้อมูลที่ละตัวแปล ยกตัวอย่างเช่น จะเก็บคะแนนข้อมูลคะแนนของนักเรียนทุกคนในห้องเราก็จะเก็บในตัวแปลอาเรย์ก็จะสะดวกกว่าในการเก็บข้อมูลประเภทนี้นั้นเอง อาเรย์สามารถมีได้หลายมิติไม่ว่าจะเป็น อาเรย์แบบมิติเดียว , อาเรย์แบบ 2 มิติ และ อาเรย์แบบ 3 มิติ
ตัวอย่างการสร้าง อาเรย์
[code]
<?php
$fruits = array(
'แก้วมังกร',
'กล้วย',
'กีวี่'
);
?>[/code]
จาก[url=https://www.mindphp.com/%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD/73-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/3674-code-%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%94-%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0-%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3.html]โค้ด[/url]ข้างบนจะเห็นได้ว่าอาเรย์ $fruits เก็บค่าเอาไว้ 3 ค่าคือ แก้วมักกร กล้วย กีวี่
หรือจะใช้การสร้างอาเรย์แบบนี้ก็ได้
[code]<?php
$fruits = [
'แก้วมังกร',
'กล้วย',
'กีวี่'
];[/code]
แบบนี้เราก็สามารถเก็บค่าอาเรย์ได้เหมือนกัน
การแสดงผล array ด้วยคำสั่ง print_r()
[code]<?php
$fruits = [
'แก้วมังกร',
'กล้วย',
'กีวี่'
];
print_r($fruits);
[/code]
ผลลัพธ์ที่ได้
[code]Array ( [0] => แก้วมังกร [1] => กล้วย [2] => กีวี่ )[/code]
การแสดงผล array ด้วยคำสั่ง echo ปกติเราจะไม่สามารถแสดงค่าทั้งหมดของได้ด้วย echo แค่ครั้งเดียวแต่เราสามารถเลือกการแสงผลได้แค่ค่าเดียวเช่นเราอยากจะให้แสดงค่ากล้วยอย่างเดียว
[code]$fruits = [
'แก้วมังกร',
'กล้วย',
'กีวี่'
];
echo $fruits[1];[/code]
ผลลัพธ์ที่ได้
[code]
กล้วย[/code]
เป็นอย่างไรบ้างครับสำหรับการแนะนำอาเรย์สำหรับบทความนี้หวังว่าจะเป็นบทความที่ดีและมีประโชน์สำหรับผู้ที่สนใจเข้ามาอ่านกันบ้างนะครับทางผู้เขียนบทความนี้ก็มีความตั้งใจว่าผู้ที่ได้เข้ามาอ่านจะได้ความรู้จากบทความนี้ไม่มากก็น้อยและหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะนำความรู้นี้ไปใช้ประโยชน์หรือนำไปส่งต่อความรู้ให้แก่ผู้ที่สนใจเช่นเดียวกับพวกเรานะครับ