ถามเรื่องหน้าที่ ความเเตกต่าง ระหว่าง สนง.บัญชี ผู้ตรวจบัญชี ผู้ทำบัญชี
Moderator: mindphp
- thatsawan
- PHP VIP Members
- Posts: 28523
- Joined: 31/03/2014 10:02 am
- Contact:
ถามเรื่องหน้าที่ ความเเตกต่าง ระหว่าง สนง.บัญชี ผู้ตรวจบัญชี ผู้ทำบัญชี
ถามเรื่องหน้าที่ ความเเตกต่าง ระหว่าง สนง.บัญชี ผู้ตรวจบัญชี ผู้ทำบัญชี มีความเเตกต่างเเต่ละหน้าที่อย่างไร เเล้วมีความจำเป็นต่อบริษัทหรือไม่
-
- PHP Hero Member
- Posts: 165
- Joined: 03/03/2015 9:42 am
Re: ถามเรื่องหน้าที่ ความเเตกต่าง ระหว่าง สนง.บัญชี ผู้ตรวจบัญชี ผู้ทำบัญชี
สำนักงงานบัญชี
บัญชีเป็นหัวใจหลักของธุรกิจทุกอย่าง ธุรกิจทุกแห่งต้องมีระบบบัญชี ต้องมีการทำบัญชีเพื่อคอยตรวจสอบสภาพกิจการและรายงานผลการดำเนินงานให้เจ้าของกิจการรับรู้ แต่ปัญหาคือเมื่อกิจการมีระบบบัญชีแล้ว จะกลายเป็นจุดที่สรรพากรจะมาตรวจสอบได้เหมือนกัน
ในการทำบัญชีนั้น ถ้าธุรกิจขนาดใหญ่ก็มักจะมีฝ่ายบัญชีหรือมีการจ้างพนักงานบัญชีมาประจำที่บริษัท แต่หากเป็นบริษัทขนาดกลางหรือขนาดเล็กก็จะเลือกใช้บริการสำนักงานบัญชี เพราะไม่คุ้มค่าที่จะตั้งฝ่ายบัญชีเอง เมื่อเลือกที่จะใช้สำนักงานบัญชี สำนักงานบัญชีมีให้เลือกมากมาย เมื่อคุณเริ่มเปิดบริษัทก็จะมีใบโฆษณาของสำนักงานบัญชีส่งมาถึงบ้าน
ผู้ตรวจบัญชี
ตรวจสอบ และรับรองความถูกต้องครบถ้วนของจำนวนเงินที่บันทึกลงในสมุดบัญชี รวมทั้งเอกสารทางการเงินของสถานประกอบกิจการ สถาบันเอกชน หรือหน่วยงานรัฐบาล
ตรวจรายการต่างๆ ที่บันทึกไว้ในสมุดบัญชี เช่น บัญชีประจำวัน หรือบัญชีรายวัน เพื่อให้เชื่อแน่ว่าการบันทึกจำนวนเงินและรายการต่างๆ ลงในสมุดบัญชีเป็นไปโดยถูกต้อง ตรวจสอบความถูกต้องของการโอนรายการต่างๆ จากบัญชีรายวันไปลงบัญชีแยกประเภท นับเงินสด และตรวจสอบยอดเงินในธนาคาร ตรวจสอบจำนวนเงินที่รับมา และจ่ายไปตลอดจนหลักทรัพย์ที่ซื้อขาย
ตรวจดูเช็คเงินสด เพื่อสอบยอดเงิน ลายเซ็นการขีดฆ่า และวันที่สั่งจ่ายเข้าบัญชีเงินสด
สอบรายการในบัญชีรายวัน และบัญชีแยกประเภทกับใบเสร็จจ่ายเงินสด ใบเสร็จซื้อของ และใบเสร็จแสดงค่าใช้จ่าย ตรวจสอบรายการสิ่งของ ตรวจสอบความถูกต้องของยอดเงิน
อาจทำเอกสารทางการเงินให้แก่ลูกค้า เช่น เอกสารแสดงกำไรและขาดทุน และงบดุล
อาจเตรียมรายงานแสดงรายการต่างๆ โดยละเอียด เช่น ต้นทุน สินทรัพย์ หนี้สิน ปริมาณการขายกำไรสุทธิ และค่าเสื่อม อาจควบคุมพนักงานบัญชีให้สอบบัญชีเป็นประจำ อาจคิดค้น และวางระบบกับวิธีการบัญชีขึ้นเป็นพิเศษเฉพาะสถานประกอบกิจการ ซึ่งไม่อาจนำระบบการบัญชีมาตรฐานมาใช้ได้
ผู้ทำบัญชี
ผู้ทำบัญชีเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการจัดทำ และนำเสนอข้อมูลทางบัญชี ของ นิติบุคคล คุณภาพของผู้ทำบัญชีย่อมส่งผลต่อคุณภาพของข้อมูลทางด้านบัญชี ผู้ทำบัญชีจึงจำเป็นต้องมีความรู้ และประสบการณ์ในการจัดทำบัญชี และนำเสนองบ การเงินอย่างเพียงพอ พระราชบัญญัติการบัญชีได้ตระหนักถึงบทบาทของผู้ทำบัญชีต่อความถูกต้องของ ข้อมูลบัญชี จึงได้มีการกำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ทำบัญชีไว้ชัดเจน โดยมีการแบ่งแยกหน้าที่และความรับผิดชอบกับผู้มีหน้าที่ จัดทำบัญชี และได้กำหนดคุณสมบัติและเงื่อนไขของบุคคลที่จะเป็นผู้ทำบัญชีตามกฎหมายไว้ ด้วย
ผู้ทำบัญชี หมายถึง ผู้รับผิดชอบในการทำบัญชีของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี ไม่ว่าจะได้กระทำในฐานะเป็นลูกจ้างของ ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีหรือไม่ก็ตาม ซึ่งได้แก่ บุคคลดังต่อไปนี้
1. กรณีเป็นพนักงานของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี ได้แก่ ผู้อำนวยการฝ่ายบัญชี สมุห์บัญชี หัวหน้าแผนกบัญชี หรือ
2. ผู้ดำรงตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่น ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบเช่นเดียวกับผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าว กรณีเป็นสำนักงานบริการรับทำบัญชี คือ
o หัวหน้าสำนักงาน กรณีเป็นสำนักงานบริการรับทำบัญชีที่มิได้จัดตั้งในรูปคณะบุคคล
o ผู้เป็นหุ้นส่วนซึ่งรับผิดชอบในการให้บริการรับทำบัญชี กรณีที่เป็นสำนักงานบริการรับทำบัญชีที่จัดตั้งในรูปคณะบุคคล
o กรรมการหรือผู้เป็นหุ้นส่วนซึ่งรับผิดชอบในการให้บริการรับทำบัญชี กรณีที่เป็นสำนักงานบริการรับทำบัญชีที่จดทะเบียนจัดตั้งเป็นนิติบุคคล
o บุคคลธรรมดา กรณีที่เป็นผู้รับจ้างทำบัญชีอิสระ
-ผู้ทำบัญชี
ธุรกิจทุกแห่งต้องมีระบบบัญชี ต้องมีการทำบัญชีเพื่อคอยตรวจสอบสภาพกิจการและรายงานผลการดำเนินงานให้เจ้าของกิจการรับรู้
-ผู้ตรวจบัญชี
รับรองความถูกต้องครบถ้วนของจำนวนเงินที่บันทึกลงในสมุดบัญชี รวมทั้งเอกสารทางการเงินของสถานประกอบกิจการ
-สำนักงานบัญชี
การทำบัญชีนั้น ถ้าธุรกิจขนาดใหญ่ก็มักจะมีฝ่ายบัญชีหรือมีการจ้างพนักงานบัญชีมาประจำที่บริษัท แต่หากเป็นบริษัทขนาดกลางหรือขนาดเล็กก็จะเลือกใช้บริการสำนักงานบัญชี เพราะไม่คุ้มค่าที่จะตั้งฝ่ายบัญชีเอง เมื่อเลือกที่จะใช้สำนักงานบัญชี สำนักงานบัญชีมีให้เลือกมากมาย เมื่อคุณเริ่มเปิดบริษัทก็จะมีใบโฆษณาของสำนักงานบัญชีส่งมาถึงบ้าน
บัญชีเป็นหัวใจหลักของธุรกิจทุกอย่าง ธุรกิจทุกแห่งต้องมีระบบบัญชี ต้องมีการทำบัญชีเพื่อคอยตรวจสอบสภาพกิจการและรายงานผลการดำเนินงานให้เจ้าของกิจการรับรู้ แต่ปัญหาคือเมื่อกิจการมีระบบบัญชีแล้ว จะกลายเป็นจุดที่สรรพากรจะมาตรวจสอบได้เหมือนกัน
ในการทำบัญชีนั้น ถ้าธุรกิจขนาดใหญ่ก็มักจะมีฝ่ายบัญชีหรือมีการจ้างพนักงานบัญชีมาประจำที่บริษัท แต่หากเป็นบริษัทขนาดกลางหรือขนาดเล็กก็จะเลือกใช้บริการสำนักงานบัญชี เพราะไม่คุ้มค่าที่จะตั้งฝ่ายบัญชีเอง เมื่อเลือกที่จะใช้สำนักงานบัญชี สำนักงานบัญชีมีให้เลือกมากมาย เมื่อคุณเริ่มเปิดบริษัทก็จะมีใบโฆษณาของสำนักงานบัญชีส่งมาถึงบ้าน
ผู้ตรวจบัญชี
ตรวจสอบ และรับรองความถูกต้องครบถ้วนของจำนวนเงินที่บันทึกลงในสมุดบัญชี รวมทั้งเอกสารทางการเงินของสถานประกอบกิจการ สถาบันเอกชน หรือหน่วยงานรัฐบาล
ตรวจรายการต่างๆ ที่บันทึกไว้ในสมุดบัญชี เช่น บัญชีประจำวัน หรือบัญชีรายวัน เพื่อให้เชื่อแน่ว่าการบันทึกจำนวนเงินและรายการต่างๆ ลงในสมุดบัญชีเป็นไปโดยถูกต้อง ตรวจสอบความถูกต้องของการโอนรายการต่างๆ จากบัญชีรายวันไปลงบัญชีแยกประเภท นับเงินสด และตรวจสอบยอดเงินในธนาคาร ตรวจสอบจำนวนเงินที่รับมา และจ่ายไปตลอดจนหลักทรัพย์ที่ซื้อขาย
ตรวจดูเช็คเงินสด เพื่อสอบยอดเงิน ลายเซ็นการขีดฆ่า และวันที่สั่งจ่ายเข้าบัญชีเงินสด
สอบรายการในบัญชีรายวัน และบัญชีแยกประเภทกับใบเสร็จจ่ายเงินสด ใบเสร็จซื้อของ และใบเสร็จแสดงค่าใช้จ่าย ตรวจสอบรายการสิ่งของ ตรวจสอบความถูกต้องของยอดเงิน
อาจทำเอกสารทางการเงินให้แก่ลูกค้า เช่น เอกสารแสดงกำไรและขาดทุน และงบดุล
อาจเตรียมรายงานแสดงรายการต่างๆ โดยละเอียด เช่น ต้นทุน สินทรัพย์ หนี้สิน ปริมาณการขายกำไรสุทธิ และค่าเสื่อม อาจควบคุมพนักงานบัญชีให้สอบบัญชีเป็นประจำ อาจคิดค้น และวางระบบกับวิธีการบัญชีขึ้นเป็นพิเศษเฉพาะสถานประกอบกิจการ ซึ่งไม่อาจนำระบบการบัญชีมาตรฐานมาใช้ได้
ผู้ทำบัญชี
ผู้ทำบัญชีเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการจัดทำ และนำเสนอข้อมูลทางบัญชี ของ นิติบุคคล คุณภาพของผู้ทำบัญชีย่อมส่งผลต่อคุณภาพของข้อมูลทางด้านบัญชี ผู้ทำบัญชีจึงจำเป็นต้องมีความรู้ และประสบการณ์ในการจัดทำบัญชี และนำเสนองบ การเงินอย่างเพียงพอ พระราชบัญญัติการบัญชีได้ตระหนักถึงบทบาทของผู้ทำบัญชีต่อความถูกต้องของ ข้อมูลบัญชี จึงได้มีการกำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ทำบัญชีไว้ชัดเจน โดยมีการแบ่งแยกหน้าที่และความรับผิดชอบกับผู้มีหน้าที่ จัดทำบัญชี และได้กำหนดคุณสมบัติและเงื่อนไขของบุคคลที่จะเป็นผู้ทำบัญชีตามกฎหมายไว้ ด้วย
ผู้ทำบัญชี หมายถึง ผู้รับผิดชอบในการทำบัญชีของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี ไม่ว่าจะได้กระทำในฐานะเป็นลูกจ้างของ ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีหรือไม่ก็ตาม ซึ่งได้แก่ บุคคลดังต่อไปนี้
1. กรณีเป็นพนักงานของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี ได้แก่ ผู้อำนวยการฝ่ายบัญชี สมุห์บัญชี หัวหน้าแผนกบัญชี หรือ
2. ผู้ดำรงตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่น ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบเช่นเดียวกับผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าว กรณีเป็นสำนักงานบริการรับทำบัญชี คือ
o หัวหน้าสำนักงาน กรณีเป็นสำนักงานบริการรับทำบัญชีที่มิได้จัดตั้งในรูปคณะบุคคล
o ผู้เป็นหุ้นส่วนซึ่งรับผิดชอบในการให้บริการรับทำบัญชี กรณีที่เป็นสำนักงานบริการรับทำบัญชีที่จัดตั้งในรูปคณะบุคคล
o กรรมการหรือผู้เป็นหุ้นส่วนซึ่งรับผิดชอบในการให้บริการรับทำบัญชี กรณีที่เป็นสำนักงานบริการรับทำบัญชีที่จดทะเบียนจัดตั้งเป็นนิติบุคคล
o บุคคลธรรมดา กรณีที่เป็นผู้รับจ้างทำบัญชีอิสระ
-ผู้ทำบัญชี
ธุรกิจทุกแห่งต้องมีระบบบัญชี ต้องมีการทำบัญชีเพื่อคอยตรวจสอบสภาพกิจการและรายงานผลการดำเนินงานให้เจ้าของกิจการรับรู้
-ผู้ตรวจบัญชี
รับรองความถูกต้องครบถ้วนของจำนวนเงินที่บันทึกลงในสมุดบัญชี รวมทั้งเอกสารทางการเงินของสถานประกอบกิจการ
-สำนักงานบัญชี
การทำบัญชีนั้น ถ้าธุรกิจขนาดใหญ่ก็มักจะมีฝ่ายบัญชีหรือมีการจ้างพนักงานบัญชีมาประจำที่บริษัท แต่หากเป็นบริษัทขนาดกลางหรือขนาดเล็กก็จะเลือกใช้บริการสำนักงานบัญชี เพราะไม่คุ้มค่าที่จะตั้งฝ่ายบัญชีเอง เมื่อเลือกที่จะใช้สำนักงานบัญชี สำนักงานบัญชีมีให้เลือกมากมาย เมื่อคุณเริ่มเปิดบริษัทก็จะมีใบโฆษณาของสำนักงานบัญชีส่งมาถึงบ้าน
-
- Similar Topics
- Replies
- Views
- Last post
-
- 0 Replies
- 2484 Views
-
Last post by Jom07
16/02/2018 1:48 pm
-
-
ระหว่าง FLEXIcontent กับ Page Builder CK
by toonytoony2004 » 21/05/2017 1:37 pm » in Joomla Development - 0 Replies
- 416 Views
-
Last post by toonytoony2004
21/05/2017 1:37 pm
-
-
-
ระหว่าง joomla กับ wordpress แตกต่างกันยังไงครับ
by aloha11x » 13/11/2019 2:12 pm » in ปัญหาการใช้ phpBB3, SMF, Joomla, Wordpress, CMS, CRM - 1 Replies
- 907 Views
-
Last post by mindphp
20/11/2019 1:10 pm
-
-
- 0 Replies
- 129 Views
-
Last post by mindphp
07/12/2020 6:15 am
-
-
วิธีการส่ง - รับ ค่า ระหว่าง phpbb กับ javascript
by Ittichai_chupol » 21/03/2019 2:47 pm » in PHP Knowledge - 0 Replies
- 621 Views
-
Last post by Ittichai_chupol
21/03/2019 2:47 pm
-
Who is online
Users browsing this forum: No registered users and 3 guests