Appcelerator หรือที่รู้จักกันในชื่อ Titanium Studio เป็น Tools จาก Appcelerator, Inc. สำหรับสร้าง Application แบบ Cross-Platform ในลักษณะของ Native Application ซึ่งนั้นก็จะหมายถึง Application ที่ถูกสร้างด้วย Appcelerator นี้ จะมีความสามารถเทียบเท่ากับ Application ที่ถูกเขียนขึ้นด้วย ภาษาเฉพาะเจาะจงของแต่ละ Platform นั่นเอง
ข้อดีของ Appcelerator
1. ภาษาที่ใช้เขียนนั้น เป็น ลักษณะของ Script ซึ่งนั่นก็คือ Javascript ซึ่ง หากเคยสร้าง Web Application ขึ้นมาเอง หรือ เคยผ่านการทำ Web มาแล้วสามารถเขียนได้ไม่ยากเกินไป
2. เขียนโปรแกรมเพียงแค่ครั้งเดียวสามารถรันได้ทุก Platform นั่นหมายถึง หากคุณเขียนโปรแกรมให้กับ iOS แล้ว Code ที่ได้เขียนไว้ ก็ จะสามารถนำไปใช้กับ Android ได้ (อาจจะมีการแก้ไขบ้าง เนื่องจาก การใช้งานบางอย่างอาจจะไม่เหมือนกัน)
3. มี Developer ใช้ Tools ตัวนี้อยู่ค่อนข้างเยอะ ซึ่งบางบริษัทใหญ่ ก็ ยังใช้ Tools ตัวนี้ในการ พัฒนา เช่น Paypal, ebay เป็นต้น
4. Interface ของ Tools นั้น เป็น Eclipse-based IDE พร้อมทั้งยังมี Feature Cloud มาให้อีกด้วย
5. Appcelerator สามารถใช้ได้ฟรี แต่หากต้องการการ Support ต่าง ๆ ก็อาจจต้องมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม
ข้อเสียของ Appcelerator
1. Performance โดยรวมนั้นอาจจะไม่สามารถเทียบกับ Native Application ที่ถูกเขียนด้วยภาษาเฉพาะเจาะจงได้ แต่ก็ ไม่ได้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ
2. ไม่มี Interface Builder ให้ใช้ ถูกต้องครับ เขียน Code ล้วน ๆ แต่ก็ มีคนทำ Plugin สำหรับการ สร้าง UI ขึ้นมา ครับ เช่น Forged UI, Visual-IDE เป็นต้น
3. เมื่อคุณติดปัญหา...หาคนช่วยแก้ปัญหาค่อนข้างลำบาก แต่ก็ไม่ได้ยากจนเกินไปนัก (หากไม่ได้เขียน Application แบบแปลก ๆ ที่ไม่ค่อยมีคนเขียนกัน)
ขั้นตอนการติดตั้ง Appcelerator
ขั้นตอนที่ 1 : Download Appcelerator
ขั้นตอนที่ 2 : ติดตั้ง Appcelerator
ขั้นตอนที่ 3 : เปิด Appcelerator เลือก Workspace ของ App
หลังจากเปิด Appcelerator จะพบกับหน้า Dashboard ให้ดูตรงที่ Appcelerator Studio Prerequisites แล้วทำการติดตั้ง Android
(ในที่นี้ได้ทำการติดตั้งเรียบร้อยแล้ว)
เสร็จสิ้นการติดตั้ง Appcelerator เพื่อพัฒนาโปรแกรมบน Android
ขั้นตอนการใช้งาน Appcelerator เพื่อพัฒนาโปรแกรมบน Android
ขั้นตอนที่ 1 : เปิด Appcelerator มาที่เมนู File > New > Mobile App Project
ขั้นตอนที่ 2 : จะมีหน้าต่าง Project Template ขึ้นมาให้เราเลือก Template จากนั้นกด Next
ขั้นตอนที่ 3 : มายัง Tab Project Location ให้เราตั้งชื่อโปรเจค ใส่ App ID และ Company/Personal URL แล้วกด Finish
*App ID ตัวอย่าง com.example.app โดยชื่อ App จะอยู่หลังสุด
ขั้นตอนที่ 4 : หลังจากสร้างโปรเจคแล้ว โปรเจคจะมาอยู่ที่ Project Explorer
- โดยไฟล์ที่จะเขียน App นั้นจะอยู่ใน Folder app
สำหรับ Layout จะอยู่ที่ app > view
สำหรับ Controller จะอยู่ที่ app > controllers
เพียงเท่านี้ก็จะสามารถเขียน Apllication Android ได้แล้ว
เสร็จการติดตั้ง และใช้งาน Appcelerator
[Review] การติดตั้ง Appcelerator เพื่อพัฒนาโปรแกรมบน Android
Moderators: mindphp, ผู้ดูแลกระดาน
-
- PHP Super Member
- Posts: 316
- Joined: 02/06/2015 9:47 am
-
- Similar Topics
- Replies
- Views
- Last post
-
-
[Review] การติดตั้ง Android Studio เพื่อพัฒนาโปรแกรมบน Android
by prakasit.bank » 04/06/2015 4:52 pm » in Mobile Application Developing- Android, iOS - 0 Replies
- 1752 Views
-
Last post by prakasit.bank
04/06/2015 4:52 pm
-
-
-
[Review] การติดตั้ง B4A เพื่อพัฒนาโปรแกรมบน Android
by prakasit.bank » 05/06/2015 10:52 am » in Mobile Application Developing- Android, iOS - 0 Replies
- 2053 Views
-
Last post by prakasit.bank
05/06/2015 10:52 am
-
-
-
[Review] การติดตั้ง Eclipse เพื่อพัฒนาโปรแกรมบน Android
by prakasit.bank » 04/06/2015 6:45 pm » in Mobile Application Developing- Android, iOS - 0 Replies
- 1110 Views
-
Last post by prakasit.bank
04/06/2015 6:45 pm
-
-
- 0 Replies
- 1309 Views
-
Last post by prakasit.bank
08/06/2015 10:25 am
-
-
การติดตั้ง Android studio บน Mac OS
by Four » 09/01/2018 1:27 pm » in Mobile Application Developing- Android, iOS - 0 Replies
- 793 Views
-
Last post by Four
09/01/2018 1:27 pm
-
-
- 0 Replies
- 2860 Views
-
Last post by nuattawoot
06/06/2017 5:12 pm
-
- 0 Replies
- 1417 Views
-
Last post by Barcode Retail
15/10/2018 12:09 pm
-
- 0 Replies
- 976 Views
-
Last post by md040
12/11/2016 3:50 pm
Who is online
Users browsing this forum: No registered users and 5 guests