Open Source License (โอเพน ชอร์ส ลายเส้น) เป็นเงื่อนไขของการให้สิทธิแก่บุคคลที่นำเอาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เขียนโดยบุคคลหนึ่ง ทำการแจกจ่าย หรือเผยแพร่

Open Source License (โอเพน ชอร์ส ลายเส้น) เป็นเงื่อนไขของการให้สิทธิแก่บุคคลที่นำเอาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เขียนโดยบุคคลหนึ่ง ทำการแจกจ่าย หรือเผยแพร่
Open Source License (โอเพน ชอร์ส ลายเส้น)

Open Source License (โอเพนซอร์ส ลายเส้น) เป็นเงื่อนไขของการให้สิทธิแก่บุคคลที่นำเอาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เขียนโดยบุคคลหนึ่ง ทำการแจกจ่าย หรือเผยแพร่ในลักษณะที่เหมือนเป็นการจ่ายแจกได้อย่างอิสระ หากแต่มีการวางข้อกำหนด และเงื่อนไขของการแจกจ่าย และเผยแพร่ รวมทั้งข้อกำหนดหรือเงื่อนไขของการดัดแปลง แก้ไข โปรแกรมคอมพิวตอร์
โอเพนซอร์ส ลายเส้น มีหลายแบบ ขึ้นอยู่กับว่าผู้พัฒนาโปรแกรมจะเลือกให้โปรแกรมของตัวเองเป็นแบบไหน โดยแบบที่เห็นกันบ่อย ๆ ก็มี GPL, LGPL, Apache, BSD, CC  มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

1. GNU General Public License : GPL (จีเอ็นยู เเจเนอรัล พับบิก ลายเส้น)

     เป็นลิขสิทธิ์พื้นฐานที่ถูกใช้กันอย่างแพร่หลายสำหรับ open-source projects (โอเพนซอร์ส โปรเจค) ซึ่งเราสามารถทำสิ่งต่อไปนี้ได้
          - Copy software (ก๊อปปี้ ซอฟแวร์) ไปไว้ที่ไหนก็ได้และไม่มีการจำกัดจำนวน
          - แจกจ่ายให้กับใครก็ได้
          - สามารถเก็บค่าใช้จ่ายได้ แต่มีข้อแม้ว่าจะต้องให้ Source Code (ซอร์สโค้ด) ทั้งหมดแก่ผู้ซื้อเพื่อนำไปพัฒนาต่อด้วย
          - แก้ไข ดัดแปลงได้ทั้งหมด เพื่อนำไปเป็นส่วนหนึ่งของ Project (โปรเจค) ตัวเอง แต่ Project (โปรเจค) นั้นจะต้องมีลิขสิทธิ์เป็น GPL ต่อด้วย

2. GNU Lesser General Public License : LGPL (จีเอ็นยู เลอเซอ แจเนอรัล พับบิก ลายเส้น)

     LGPL (แอลจีพีแอล) จะต่างกับ GPL (จีพีแอล) ตรงที่ ถ้าเรานำ Code (โค้ด) หรือ Libraries (ไลบารี่) บางส่วนไปใช้กับงานที่ไม่ใช่ Open-Source Project (โอเพนซอร์ส โปรเจค) เราไม่จำเป็นต้องเปิดเผย Source Code (ซอร์สโค้ด) หรือใช้ลิขสิทธิ์เดียวกับ GPL ก็ได้

3. Apache License (อาปาเช่ ลายเส้น)

     ถือเป็นลิขสิทธิ์ตัวหนึ่งที่ครอบคลุมทั้งเรื่องลิขสิทธิ์และสิทธิบัตร ในขณะที่บางตัวจะครอบคลุมเพียงแค่ลิขสิทธิ์เท่านั้น สำหรับการใช้งาน Apache License (อาปาเช่ ลายเส้น)เราจะมีสิทธิ์ใช้ถาวร เมื่อไรก็ได้ โดยไม่มีค่าใช้จ่าย ไม่มีการผูกขาด ซึ่งใครสามารถใช้ก็ได้ และสิทธิ์ที่ใช้นั้นก็ครอบคลุมไปทุกพื้นที่ทั่วโลก เช่น หากลิขสิทธิ์ได้ทำขึ้นที่เมืองไทย แต่เราต้องการนำไปใช้ที่ประเทศอังกฤษก็สามารถทำได้ ส่วนการแจกจ่าย Code (โค้ด) ต่อนั้น ต้องให้เครดิตคนพัฒนา และต้องรักษาลิขสิทธิ์เดียวกันด้วย

4. BSD License (บีเอสดี ลายเส้น)

     มีข้อจำกัดน้อยกว่าในเรื่องการแจกจ่ายต่อถ้าเทียบกับประเภทอื่นอย่าง GPL (จีพีแอล) ซึ่งจะถูกแบ่ง 2 ปรเภท
          1. New BSD License (นิว บีเอสดี ลายเส้น) หรือ Modified BSD License (โมดิฟาย บีเอสดี ลายเส้น) BSD 3-Clause (บีเอสดี ที คอส)
                จะอนุญาตให้แจกจ่ายต่อได้ไม่ว่าวัตถุประสงค์ใดก็ตาม แต่ห้ามใส่ชื่อองค์กรที่ผลิต หรือชื่อผู้ร่วมพัฒนาเข้าไปในงาน เพื่อใช้ในการโฆษณาส่งเสริมสินค้า เว้นแต่ได้รับ               อนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรเท่านั้น และต้องมีการระบุข้อสัญญาลงไปในส่วนใดส่วนหนึ่งของงาน โดยทั่วไปมีรูปแบบดังนี้ี้

          2. Simplified BSD License (ชิมพิพิส บีเอสดี ลายเส้น) หรือ Free BSD License (ฟรี บีเอสดี ลายเส้น) BSD 2-Clause (บีเอสดี ทู คอส)
                เหมือนกับ New BSD License (นิว บีเอสดี ลายเส้น) ทุกประการแต่แตกต่างเพียงแค่ Simplified BSD License (ชิมพิพิส บีเอสดี ลายเส้น) สามารถใช้ชื่อองค์กรที่ผลิต             หรือชื่อผู้ร่วมพัฒนามาโฆษณาส่งเสริมสินค้าได้ โดยไม่จำเป็นต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร หรือพูดง่าย ๆ ว่าจะคล้ายกับ MIT (เอ็มไอที) เลย และต้องมีการระบุ             ข้อสัญญาลงไปในส่วนใดส่วนหนึ่งของงาน 

5. Creative Commons Licenses (ครีเอทีฟ คอมมอน ลายเส้น)

     ถูกนำไปใช้ในลิขสิทธิ์ของผลงาน โดยอาจเป็นผลงานการเขียน รูปภาพ หรือการออกแบบ โดยเจ้าของผลงานสามารถเลือกได้ว่าผลงานของตัวเองจะให้มี license เป็นแบบไหน เช่น แสดงที่มา , แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า , แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง เป็นต้น

6. MIT License (เอ็มไอที ลายเส้น)

     เป็นลิขสิทธิ์ที่มีความเรียบง่ายและสั้นที่สุดหากเทียบกับอันอื่น ๆ เพราะ MIT (เอ็มไอที) กล่าวอย่างชัดแจ้งว่าสิทธิ์การใช้งานนั้นเป็นของ end-user (เอ็น ยูเซอร์) รวมทั้งสามารถนำไปใช้ คัดลอก แก้ไข แจกจ่าย หรือนำไปขายก็ยังได้ และไม่มีการจำกัดในเรื่องของงาน แต่จะต้องมีการใส่ข้อสัญญาของ MIT (เอ็มไอที) ลงไปในส่วนใดส่วนหนึ่งของงาน

 

อ้างอิง
unzeen.com

กระทู้ล่าสุดจากเว็บบอร์ด
หัวข้อกระทู้
ตอบ
เปิดดู
ล่าสุด
อัปเดต Joomla เวอร์ชัน 5.0.2 และ 4.4.2 แก้ไขปัญหาปัญหาระบบต่าง ๆ
โดย Thanapoom1514 อ 28 ม.ค. 2024 2:37 pm บอร์ด MindPHP News & Feedback
1
621
อ 30 ม.ค. 2024 11:53 am โดย mrfurniture View Topic อัปเดต Joomla เวอร์ชัน 5.0.2 และ 4.4.2 แก้ไขปัญหาปัญหาระบบต่าง ๆ
10 คำถาม เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ Q&A
โดย Best1677 พฤ 25 ม.ค. 2024 11:29 am บอร์ด ถาม - ตอบ คอมพิวเตอร์
0
869
พฤ 25 ม.ค. 2024 11:29 am โดย Best1677 View Topic 10 คำถาม เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์  Q&A
หลอด T8 LED วิวัฒนาการของวงการหลอดไฟ
โดย admeadme พฤ 25 ม.ค. 2024 9:23 am บอร์ด พูดคุยเรื่องทั่วไป จับฉ่าย
0
744
พฤ 25 ม.ค. 2024 9:23 am โดย admeadme View Topic หลอด T8 LED วิวัฒนาการของวงการหลอดไฟ
ปัญหา เร้าเตอร์เน็ต ขึ้น los สีแดง
โดย Thanavat_n พ 24 ม.ค. 2024 4:28 pm บอร์ด ถาม - ตอบ คอมพิวเตอร์
1
435
พ 24 ม.ค. 2024 4:29 pm โดย Thanavat_n View Topic ปัญหา เร้าเตอร์เน็ต ขึ้น los สีแดง
ใช้โปรแกรมอะไรดีสุดครับ จะอัพโค้ด PHP ขึ้นโฮส ทำการเช่าโฮสไว้แล้ว
โดย Anonymous อ 23 ม.ค. 2024 10:46 am บอร์ด Programming - PHP
1
1541
พ 24 ม.ค. 2024 7:47 am โดย mindphp View Topic ใช้โปรแกรมอะไรดีสุดครับ จะอัพโค้ด PHP ขึ้นโฮส ทำการเช่าโฮสไว้แล้ว
ภาษา Lua ตอนที่ 9 : ตัวดำเนินการตรรกะ
โดย worramaitk พฤ 18 ม.ค. 2024 5:17 pm บอร์ด Microsoft Office Knowledge & line & Etc
0
821
พฤ 18 ม.ค. 2024 5:17 pm โดย worramaitk View Topic ภาษา Lua ตอนที่ 9 : ตัวดำเนินการตรรกะ
ภาษา Lua ตอนที่ 8 : ตัวดำเนินการ
โดย worramaitk พฤ 18 ม.ค. 2024 4:55 pm บอร์ด Microsoft Office Knowledge & line & Etc
0
568
พฤ 18 ม.ค. 2024 4:55 pm โดย worramaitk View Topic ภาษา Lua ตอนที่ 8 : ตัวดำเนินการ
ภาษา Lua ตอนที่ 7 : ชนิดข้อมูล Table (2)
โดย worramaitk พฤ 18 ม.ค. 2024 4:02 pm บอร์ด Microsoft Office Knowledge & line & Etc
0
819
พฤ 18 ม.ค. 2024 4:02 pm โดย worramaitk View Topic ภาษา Lua ตอนที่ 7 : ชนิดข้อมูล Table (2)